วันพุธที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2550
เด็กพิการซ้อน
เด็กพิการซ้อน (Children with Multiple Handicaps) เด็กบกพร่องซ้อน หมายถึง ผู้ที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก เช่น ปัญญาอ่อน-ตาบอด ปัญญาอ่อน-ร่างกายพิการ หูหนวก-ตาบอด ฯลฯ
เด็กออทิสติก
เด็กออทิสตึก (Autistic) เด็กออทิสติก หรือบางครั้งเรียกว่า ออทิซึ่ม (Autism) หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องอย่างรุนแรงในการสื่อความหาย พฤติกรรม สังคม และความสามารถทางสติปัญญาในการรับรู้ อาการต่าง ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงไม่แน่นอนเป็นระยะ ๆ ไป เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์ของตนเอง และย่อมแตกต่างไปจากเด็กคนอื่น ๆ ซึ่งเป็นเด็กออทิสติกเหมือนกัน ทั้งนี้เป็นเพราะอาการที่เป็นออทิสติกนั้นจะคงอยู่ติดตัวเด็กไปจนเป็นผู้ใหญ่จนตลอดทั้งชีวิต ไม่สามารถรักษาให้หายได้หากพิจารณาเปรียบเทียบด้านพัฒนาการของทักษะด้านต่าง ๆ ของเด็กออทิสติกใน 4 ด้าน คือ ด้านทักษะการเคลื่อนไหว ด้านทักษะการรับรู้เกี่ยวกับรูปทรง ขนาดและพื้นที่ ด้านทักษะภาษาและการสื่อความหมาย และด้านทักษะทางสังคม จะพบว่าเด็กออทิสติกจะมีพัฒนาการด้านภาษาและพัฒนาการด้านสังคมต่ำมาก แต่จะมีพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ด้านการรับรู้รูปทรง ขนาดและพื้นที่โดยเฉลี่ยสูงถ้าความแตกต่างระหว่างทักษะด้านภาษา และสังคมยิ่งต่ำกว่า ทักษะด้านการเคลื่อนไหว และการรับรู้รูปทรงมากเท่าใดความเป็นไปได้ของออทิสติกก็ยิ่งสูงขึ้นเท่านั้น พัฒนาการที่ผิดปกตินี้ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงตลอดชีวิต ซึ่งปกติปรากฎในระยะ 3 ปี แรกของชีวิต
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ (Children with Learning Disabilities) เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ หรือเรียกย่อๆ ว่า L.D. (Learning Disability) หมายถึง ผู้ที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง โดยมีความบกพร่อง หรือปัญหาหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งอย่าง ในกระบวนการทางจิตวิทยาทำให้เด็กเหล่านี้มีปัญหาทางการใช้ภาษา หรือการพูด การเขียน โดยจะแสดงออกมาในลักษณะของการนำไปปฏิบัติทั้งนี้ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก การขาดแรงเสริม ด้วยโอกาสทางสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หรือเป็นเพราะครูสอนไม่มีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุนี้ในการพิจารณาเรื่องปัญหา ทางการเรียนรู้จึงต้องอาศัยลักษณะร่วมกันคือ เป็นผู้ที่มีระดับสติปัญญาปกติ หรือมีสติปัญญาอยู่ในช่วงเช่นเดียวกับเด็กปกติแต่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะต่อกว่าปกติ และจะต้องไม่มีความพิการหรือความบกพร่องในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สุขภาพอนามัย ระบบประสาทการสัมผัสและวัฒนธรรมเข้ามาเกี่ยวข้อง
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญา หรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ
1. เด็กเรียนช้า หมายถึง เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ จัดเป็นพวกขาดทักษะในการเรียนรู้ หรือมีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย เด็กเหล่านี้จะมีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
2. เด็กปัญญาอ่อน หมายถึง เด็กที่มีภาวะพัฒนาการของจิตใจหยุดชะงัก หรือเจริญไม่เต็มที่ ซึ่งแสดงลักษณะเฉพาะ คือ มีระดับสติปัญญาต่ำ มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก มีระดับสติปัญญาต่ำกว่า (IQ) 20 ลงไป
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 20-34
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 35-49
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 50 -70 กลุ่มนี้พอจะเรียนในระดับประถมศึกษาได้ และสามารถฝึกอาชีพและงานง่าย ๆ ได้ เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า E.M.R. (Educable Mentally Retarded)
1. เด็กเรียนช้า หมายถึง เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ จัดเป็นพวกขาดทักษะในการเรียนรู้ หรือมีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย เด็กเหล่านี้จะมีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
2. เด็กปัญญาอ่อน หมายถึง เด็กที่มีภาวะพัฒนาการของจิตใจหยุดชะงัก หรือเจริญไม่เต็มที่ ซึ่งแสดงลักษณะเฉพาะ คือ มีระดับสติปัญญาต่ำ มีความสามารถในการเรียนรู้น้อย มีพัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เด็กปัญญาอ่อนแบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก มีระดับสติปัญญาต่ำกว่า (IQ) 20 ลงไป
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 20-34
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 35-49
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย มีระดับสติปัญญา (IQ) ระหว่าง 50 -70 กลุ่มนี้พอจะเรียนในระดับประถมศึกษาได้ และสามารถฝึกอาชีพและงานง่าย ๆ ได้ เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า E.M.R. (Educable Mentally Retarded)
เด็กที่มีความบกพร่องทางอารมณ์และพฤติกรรม
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ (Children with behaviorally and Emotional disorders)เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ หมายถึง ผู้ที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกติ เช่นคนปกตินาน ๆ ไม่ได้ หรือผู้ที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้ ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นไม่เป็นที่ยอมรับและพอใจของมาตรฐานความประพฤติปฏิบัติของสังคม ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย สอดคล้องกับสภาพการณ์ ซึ่งการจะจัดว่าใครมีความบกพร่องทางพฤติกรรม และอารมณ์ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้
1. สภาพแวดล้อม พฤติกรรมและอารมณ์ที่เป็นที่ยอมรับในสถานการณ์อย่างหนึ่ง
2. ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล ความคิดเห็นของคนสองคนที่มีต่อพฤติกรรมอย่างเดียวกัน ย่อมไม่เหมือนกัน
3. เป้าหมายของแต่ละบุคคล ซึ่งเป้าหมายจะเป็นตัวกำหนดทำให้การมองพฤติกรรมเดียวกันของคนสองคนมองกันคนละแง่
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์จะได้รับผลกระทบในลักษณะต่าง ๆ อาจจะเพียงข้อใดข้อหนึ่ง หรือหลายข้อก็ได้ และเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นและมีมาเป็นเวลานานแล้วได้แก่ 1. ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเด็กปกติ
2. ไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนนักเรียนด้วยกัน หรือกับครูได้
3. มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กปกติอื่น ๆ ในวัยเดียวกัน
4. มีความคับข้องใจ และมีความเก็บกดอารมณ์
5. แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศรีษะ ปวดตามส่วนต่าง ๆของร่างกายหรือมีความหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก และกำลังได้รับความสนใจจากทางการแพทย์ ทางจิตวิทยา และทางการศึกษา ได้แก่
1. เด็กสมาธิสั้น (Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
2. เด็กออทิสติก (Autistic) หรือบางคนเรียกว่า ออทิสซึ่ม (Autisum)
1. สภาพแวดล้อม พฤติกรรมและอารมณ์ที่เป็นที่ยอมรับในสถานการณ์อย่างหนึ่ง
2. ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล ความคิดเห็นของคนสองคนที่มีต่อพฤติกรรมอย่างเดียวกัน ย่อมไม่เหมือนกัน
3. เป้าหมายของแต่ละบุคคล ซึ่งเป้าหมายจะเป็นตัวกำหนดทำให้การมองพฤติกรรมเดียวกันของคนสองคนมองกันคนละแง่
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์จะได้รับผลกระทบในลักษณะต่าง ๆ อาจจะเพียงข้อใดข้อหนึ่ง หรือหลายข้อก็ได้ และเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นและมีมาเป็นเวลานานแล้วได้แก่ 1. ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นเด็กปกติ
2. ไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนนักเรียนด้วยกัน หรือกับครูได้
3. มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กปกติอื่น ๆ ในวัยเดียวกัน
4. มีความคับข้องใจ และมีความเก็บกดอารมณ์
5. แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศรีษะ ปวดตามส่วนต่าง ๆของร่างกายหรือมีความหวาดกลัว
เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก และกำลังได้รับความสนใจจากทางการแพทย์ ทางจิตวิทยา และทางการศึกษา ได้แก่
1. เด็กสมาธิสั้น (Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
2. เด็กออทิสติก (Autistic) หรือบางคนเรียกว่า ออทิสซึ่ม (Autisum)
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
เด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ หมายถึง ผู้ที่มีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใด ส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนหายไป กระดูกกล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรงหรือเฉียบพลัน มีความพิการทางระบบประสาทสมอง มีความลำบากในการเคลื่อนไหวจนเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียน และทำกิจกรรมของเด็ก จำแนกได้ดังนี้ 1. อาการบกพร่องทางร่างกาย ที่มักพบบ่อย ได้แก่
1.1 ซีพี หรือ ซีรีรัล พัลซี (C.P. : Cerebral Passy) หมายถึง การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการหรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด อันเนื่องมาจากการขาดอากาศ ออกซิเจน ฯ เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน ที่พบส่วนใหญ่ คือ
1.1.1 อัมพาตเกร็งของแขนขา หรือครึ่งซีก (Spastic)
1.1.2 อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Athetoid) จะควบคุมการเคลื่อนไหวและบังคับไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้
1.1.3 อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia) การประสานงานของอวัยวะไม่ดี
1.1.4 อัมพาตตึงแข็ง (Rigid) การเคลื่อนไหวแข็งช้า ร่างการมีการสั่นกระตุกอย่างบังคับไม่ได้
1.1.5 อัมพาตแบบผสม (Mixed)
1.2 กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy) เกิดจากประสาทสมองที่ควบคุมส่วนของกล้ามเนื้อส่วนนั้น ๆ เสื่อมสลายตัว โดยไม่ทราบสาเหตุ ทำให้กล้ามเนื้อแขนขาจะค่อย ๆ อ่อนกำลัง เด็กจะเดินหกล้มบ่อย
1.3 โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic) ที่พบบ่อย ได้แก่
1.3.1 ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก (Club Foot) กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อนเนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด
1.3.2 ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่น วัณโรค กระดูกหลังโกง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรังมีหนอง
1.3.3 กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ มีความพิการเนื่องจากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
1.4 โปลิโอ (Poliomyelitis) เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งเข้าสู่ร่างกายทางปาก แล้วไปเจริญต่อมน้ำเหลืองในลำคอ ลำไส้เล็ก และเข้าสู่กระแสเลือดจนถึงระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อเซลล์ประสาทบังคับกล้ามเนื้อถูกทำลาย แขนหรือขาจะไม่มีกำลังในการเคลื่อนไหว
1.5 แขนขาด้วนแต่กำเนิด (Limb Deficiency) รวมถึงเด็กที่เกิดมาด้วยลักษณะของอวัยวะที่มีความเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น นิ้วมือติดกัน 3-4 นิ้ว มีแค่แขนท่อนบนต่อกับนิ้วมือ ไม่มีข้อศอก หรือเด็กที่แขนขาด้วนเนื่องจากประสบอุบัติเหตุ และการเกิดอันตรายในวัยเด็ก
1.6 โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta) เป็นผลทำให้เด็กไม่เจริญเติบโตสมวัย ตัวเตี้ย มีลักษณะของกระดูกผิดปกติ กระดูกยาวบิดเบี้ยวเห็นได้ชุดจากระดูกหน้าแข็ง
1.1 ซีพี หรือ ซีรีรัล พัลซี (C.P. : Cerebral Passy) หมายถึง การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการหรือเป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด อันเนื่องมาจากการขาดอากาศ ออกซิเจน ฯ เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของสมองแตกต่างกัน ที่พบส่วนใหญ่ คือ
1.1.1 อัมพาตเกร็งของแขนขา หรือครึ่งซีก (Spastic)
1.1.2 อัมพาตของลีลาการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Athetoid) จะควบคุมการเคลื่อนไหวและบังคับไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้
1.1.3 อัมพาตสูญเสียการทรงตัว (Ataxia) การประสานงานของอวัยวะไม่ดี
1.1.4 อัมพาตตึงแข็ง (Rigid) การเคลื่อนไหวแข็งช้า ร่างการมีการสั่นกระตุกอย่างบังคับไม่ได้
1.1.5 อัมพาตแบบผสม (Mixed)
1.2 กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy) เกิดจากประสาทสมองที่ควบคุมส่วนของกล้ามเนื้อส่วนนั้น ๆ เสื่อมสลายตัว โดยไม่ทราบสาเหตุ ทำให้กล้ามเนื้อแขนขาจะค่อย ๆ อ่อนกำลัง เด็กจะเดินหกล้มบ่อย
1.3 โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic) ที่พบบ่อย ได้แก่
1.3.1 ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก (Club Foot) กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อนเนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด
1.3.2 ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการด้วยโรคติดเชื้อ (Infection) เช่น วัณโรค กระดูกหลังโกง กระดูกผุ เป็นแผลเรื้อรังมีหนอง
1.3.3 กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสบ มีความพิการเนื่องจากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
1.4 โปลิโอ (Poliomyelitis) เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งเข้าสู่ร่างกายทางปาก แล้วไปเจริญต่อมน้ำเหลืองในลำคอ ลำไส้เล็ก และเข้าสู่กระแสเลือดจนถึงระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อเซลล์ประสาทบังคับกล้ามเนื้อถูกทำลาย แขนหรือขาจะไม่มีกำลังในการเคลื่อนไหว
1.5 แขนขาด้วนแต่กำเนิด (Limb Deficiency) รวมถึงเด็กที่เกิดมาด้วยลักษณะของอวัยวะที่มีความเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น นิ้วมือติดกัน 3-4 นิ้ว มีแค่แขนท่อนบนต่อกับนิ้วมือ ไม่มีข้อศอก หรือเด็กที่แขนขาด้วนเนื่องจากประสบอุบัติเหตุ และการเกิดอันตรายในวัยเด็ก
1.6 โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta) เป็นผลทำให้เด็กไม่เจริญเติบโตสมวัย ตัวเตี้ย มีลักษณะของกระดูกผิดปกติ กระดูกยาวบิดเบี้ยวเห็นได้ชุดจากระดูกหน้าแข็ง
เด็กที่มีความบกพร่องทางการสื่อสาร
การพูดและภาษาเป็นสิ่งที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ทั้งนี้เพราะการพูดเป็นการแสดงออกทางภาษา ดังนั้นเด็กบกพร่องทางการพูด และภาษา จึงหมายถึง ผู้ที่พูดไม่ชัด และลีลาจังหวะการพูดผิดปกติ ออกเสียงผิดเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามลำดับขั้น การใช้อวัยวะเพื่อการพูดไม่เป็นไปดังที่ตั้งใจ คำพูดที่ยากหรือซับซ้อนหรือยาวจะยิ่งมีปัญหามากหรือมีอาการพูดและใช้ภาษาที่ผิดปกติ โดยการพูดนั้นเห็นได้ชัดว่าผิดแปลกไปจากการพูดของคนทั่วไป ทำให้ฟังไม่รู้เรื่อง สื่อความหมายต่อกันไม่ได้ หรือมีอากัปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด ซึ่งความบกพร่องทางการพูดและภาษาสามารถจำแนกได้ ดังนี้ คือ
1. ความผิดปกติด้านการออกเสียง
1.1 ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม เช่น พูดเสียงขึ้นจมูกเนื่องมาจากอิทธิพลของภาษาถิ่น
1.2 เพิ่มหน่วยเสียงเข้าในคำโดยไม่จำเป็น
1.3 เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด -> ฟาด
2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
3. ความผิดปกติด้านเสียง
3.1 ระดับเสียง เช่น การพูดเสียงสูงเกินไป ต่ำเกินไป หรือพูดระดับเสียงเดียวกันหมด
3.2 ความดัง เช่น พูดเสียงดังมาก หรือเบามากจนเกินไป
3.3 คุณภาพของเสียง เช่น พูดเสียงแตกพร่า เสียงแหบ เสียงหอบ
4. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia ที่ควรรู้ ได้แก่
4.1 Motor aphasia (Expressive หรือ Broca's apasia)
4.2 Wemicke's aphasia (Sensory หรือ Receptive apasia)
4.3 Conduction aphasia
4.4 Nominal aphasia (Anomic aphasia)
4.5 Global aphasia
4.6 Sensory agraphia
4.7 Motor agraphia
4.8 Cortical alexia (Sensory alexia)
4.9 Motor alexia
4.10 Gerstmann's syndrome
4.11 Visual agnosia
4.12 Auditory agnosia
1. ความผิดปกติด้านการออกเสียง
1.1 ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม เช่น พูดเสียงขึ้นจมูกเนื่องมาจากอิทธิพลของภาษาถิ่น
1.2 เพิ่มหน่วยเสียงเข้าในคำโดยไม่จำเป็น
1.3 เอาเสียงหนึ่งมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด -> ฟาด
2. ความผิดปกติด้านจังหวะเวลาของการพูด เช่น การพูดรัว การพูดติดอ่าง
3. ความผิดปกติด้านเสียง
3.1 ระดับเสียง เช่น การพูดเสียงสูงเกินไป ต่ำเกินไป หรือพูดระดับเสียงเดียวกันหมด
3.2 ความดัง เช่น พูดเสียงดังมาก หรือเบามากจนเกินไป
3.3 คุณภาพของเสียง เช่น พูดเสียงแตกพร่า เสียงแหบ เสียงหอบ
4. ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia ที่ควรรู้ ได้แก่
4.1 Motor aphasia (Expressive หรือ Broca's apasia)
4.2 Wemicke's aphasia (Sensory หรือ Receptive apasia)
4.3 Conduction aphasia
4.4 Nominal aphasia (Anomic aphasia)
4.5 Global aphasia
4.6 Sensory agraphia
4.7 Motor agraphia
4.8 Cortical alexia (Sensory alexia)
4.9 Motor alexia
4.10 Gerstmann's syndrome
4.11 Visual agnosia
4.12 Auditory agnosia
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึง ผู้ที่มีความบกพร่อง หรือสูญเสียการได้ยิน เป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ 1. เด็กหูตึง หมายถึง ผู้ที่สูญเสียการได้ยินถึงขนาดที่ทำให้มีความยากลำบากจนไม่สามารถเข้าใจคำพูดและการสนทนาได้ แต่ไม่ถึงกับหมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยินด้วยหูเพียงอย่างเดียว โดยไม่มี หรือไม่ใช้เครื่องช่วยฟัง แบ่งตามระดับการได้ยิน ซึ่งอาศัยเกณฑ์การพิจารณาอัตราความบกพร่องของหู โดยใช้ค่าเฉลี่ยการได้ยินที่ความถี่ 500, 1000 และ 2000 รอบต่อวินาที (เฮิร์ท: Hz) ในหูข้างที่ดีกว่า จำแนกได้ 4 กลุ่ม คือ 1.1 เด็กหูตึงระดับน้อย มีการได้ยินเฉลี่ยระหว่าง 26 -40 เดซิเบล (dB) 1.2 เด็กหูตึงระดับปานกลาง มีการได้ยินเฉลี่ย 41 - 55 เดซิเบล (dB) 1.3 เด็กหูตึงระดับมาก มีการได้ยินเฉลี่ยระหว่าง 56 - 70 เดซิเบล (dB) 1.4 เด็กหูตึงระดับรุนแรง มีการได้ยินเฉลี่ยระหว่าง 71 - 90 เดซิเบล (dB)
2. เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยินด้วยหูเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีหรือมีเครื่องช่วยฟังจนเป้นเหตุให้ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้ หากไม่ได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษ ถ้าวัดระดับการได้ยินแล้วจะมีการได้ยินตั้งแต่ 91 เดซิเบล (dB) ขึ้นไป
2. เด็กหูหนวก หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูดจากการได้ยินด้วยหูเพียงอย่างเดียว โดยไม่มีหรือมีเครื่องช่วยฟังจนเป้นเหตุให้ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้ หากไม่ได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษ ถ้าวัดระดับการได้ยินแล้วจะมีการได้ยินตั้งแต่ 91 เดซิเบล (dB) ขึ้นไป
เด็กที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น
เด็กที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น คือ เด็กที่สูญเสียความสามารถในการมองเห็น แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1. เด็กตาบอด สูญเสียสายตาโดยสิ้นเชิง ต้องใช้อักษรเบลร์
2. เด็กที่มองเห็นเลือน ลาง ตาบอดเป็นบางส่วน มองเห็น 20 -70 ฟุตหรือน้อยกว่านั้น ใช้แว่นขยายหรือเครื่องมือพิเศษ
1. เด็กตาบอด สูญเสียสายตาโดยสิ้นเชิง ต้องใช้อักษรเบลร์
2. เด็กที่มองเห็นเลือน ลาง ตาบอดเป็นบางส่วน มองเห็น 20 -70 ฟุตหรือน้อยกว่านั้น ใช้แว่นขยายหรือเครื่องมือพิเศษ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ กัททรี
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ กัททรี (Edwin R.Guthrie)
กัททรี (Edwin R.Guthrie) เป็นผู้สนใจศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวความคิดลัทธิพฤติกรรมนิยม และนิยมชมชอบคือ อธิบายพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรมและเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ เขาเชื่อว่าหลักการเรียนรู้เกี่ยวข้องกับการวางเงื่อนไขและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (สภาวะแวดล้อมภายนอก) กับอินทรีย์ (สภาวะแวดล้อมภายในร่างกาย หลักการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของกัททรี มีดังนี้
1. เมื่อสภาวะสมดุลในกระบวนการจูงใจ (Homeostasis) สูญสิ้นไปอินทรีย์จะเริ่มสร้างแรงจูงใจจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งบุคคลเคยเรียนรู้มาแล้ว
2. พฤติกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นตามสภาวะสมดุลย์ในการจูงใจจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งบุคคลเคยเรียนรู้มาแล้ว
3. พฤติกรรมทั้งหลายของคนเราไม่ว่าจะซับซ้อนอย่างไร ก็สามารถอธิบายได้ตามลักษณะนิสัยและเหตุจูงใจตามหลักการดังกล่าวข้างต้น (ข้อ 1 และ ข้อ 2)
กัททรี ได้เน้นศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ระดับโมเลกุล (Molecular Level) กับระดับ โมลาร์ (Molar Level) กล่าวคือ พฤติกรรมการเรียนรู้ระดับโมเลกุลนั้นเกิดขึ้นเชื่อมโยงกับระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System) การเกิดพฤติกรรมใหม่แต่ละครั้งเกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบประสาทแต่ละส่วนที่กระตุ้น เช่นการกระพริบตาเมื่อถูกวางเงื่อนไขโดยการเป่าลมที่ตา ทุกครั้งที่ลูกโป่งสำหรับเป่าลมถูกยกมาบริเวณใกล้ตา ตาจะกระพริบทันที ทั้งๆ ที่ยังไม่ได้ทำการเป่าลมออกมา ส่วนพฤติกรรมโมลาร์เกี่ยวข้องกับการทำงานของกล้ามเนื้อและประสาทควบคุมการเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นการทำงานรวมระบบสิ่งเร้าการตอบสนอง (S-R Pattern) พฤติกรรมต่างๆ จะมีลักษณะต่อเนื่องเป็นโซ่ และมีแรงจูงใจมีการเสริมแรงจึงทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้ ทวีความเข้มอย่างเด่นชัดมากขึ้น เช่นท่าทางการเดินของแต่ละคนจะผสมกลมกลืนระบบการทำงานของกล้ามเนื้อ การสั่งงานของระบบประสาทสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ตลอดจนลักษณะกริยาเดินที่เลียนแบบจากบิดามารดาเป็นต้น ผลจากการเรียนรู้พฤติกรรมการเดินจากบิดามารดา (สิ่งแวดล้อมภายนอก) รวมกับตัวบุคคลผู้นั้น (สิ่งแวดล้อมภายใน) ได้กำหนดแบบพฤติกรรมการเดินคล้ายคลึงกับต้นแบบ จึงดูเสมือนว่าเป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
กัททรี (Edwin R.Guthrie) เป็นผู้สนใจศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวความคิดลัทธิพฤติกรรมนิยม และนิยมชมชอบคือ อธิบายพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรมและเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ เขาเชื่อว่าหลักการเรียนรู้เกี่ยวข้องกับการวางเงื่อนไขและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (สภาวะแวดล้อมภายนอก) กับอินทรีย์ (สภาวะแวดล้อมภายในร่างกาย หลักการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของกัททรี มีดังนี้
1. เมื่อสภาวะสมดุลในกระบวนการจูงใจ (Homeostasis) สูญสิ้นไปอินทรีย์จะเริ่มสร้างแรงจูงใจจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งบุคคลเคยเรียนรู้มาแล้ว
2. พฤติกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นตามสภาวะสมดุลย์ในการจูงใจจะสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมซึ่งบุคคลเคยเรียนรู้มาแล้ว
3. พฤติกรรมทั้งหลายของคนเราไม่ว่าจะซับซ้อนอย่างไร ก็สามารถอธิบายได้ตามลักษณะนิสัยและเหตุจูงใจตามหลักการดังกล่าวข้างต้น (ข้อ 1 และ ข้อ 2)
กัททรี ได้เน้นศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ระดับโมเลกุล (Molecular Level) กับระดับ โมลาร์ (Molar Level) กล่าวคือ พฤติกรรมการเรียนรู้ระดับโมเลกุลนั้นเกิดขึ้นเชื่อมโยงกับระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System) การเกิดพฤติกรรมใหม่แต่ละครั้งเกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบประสาทแต่ละส่วนที่กระตุ้น เช่นการกระพริบตาเมื่อถูกวางเงื่อนไขโดยการเป่าลมที่ตา ทุกครั้งที่ลูกโป่งสำหรับเป่าลมถูกยกมาบริเวณใกล้ตา ตาจะกระพริบทันที ทั้งๆ ที่ยังไม่ได้ทำการเป่าลมออกมา ส่วนพฤติกรรมโมลาร์เกี่ยวข้องกับการทำงานของกล้ามเนื้อและประสาทควบคุมการเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นการทำงานรวมระบบสิ่งเร้าการตอบสนอง (S-R Pattern) พฤติกรรมต่างๆ จะมีลักษณะต่อเนื่องเป็นโซ่ และมีแรงจูงใจมีการเสริมแรงจึงทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้ ทวีความเข้มอย่างเด่นชัดมากขึ้น เช่นท่าทางการเดินของแต่ละคนจะผสมกลมกลืนระบบการทำงานของกล้ามเนื้อ การสั่งงานของระบบประสาทสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ตลอดจนลักษณะกริยาเดินที่เลียนแบบจากบิดามารดาเป็นต้น ผลจากการเรียนรู้พฤติกรรมการเดินจากบิดามารดา (สิ่งแวดล้อมภายนอก) รวมกับตัวบุคคลผู้นั้น (สิ่งแวดล้อมภายใน) ได้กำหนดแบบพฤติกรรมการเดินคล้ายคลึงกับต้นแบบ จึงดูเสมือนว่าเป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ ฮาล
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ ฮาล (Clatk Hull)
ฮาล (Clatk Hull) เป็นหนึ่งในหมู่นักวิทยาศาสตร์กลุ่มลัทธิพฤติกรรมนิยม[Behavioralism]
เช่นเดียวกับ โทลแมน และ สกินนเนอร์ (Guthric Tolman and Skinner) ซึ่งสนใจและศึกษาพฤติกรรมตามแนวความคิดของวัทสัน นักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้ลดความสำคัญของคำว่า “จิตใจ” และพยายามหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำๆ นี้โดยมุ่งเน้นการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรมสังเกตได้ วัดได้ ทดลองและทำซ้ำได้ แสดงหรือพิสูจน์ได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ซึ่งเป็นการศึกษาตามระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น โดยเฉพาะฮาล ซึ่งมีพื้นฐานความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีที่ชื่อว่า “Hypothetico-deductive or mathematico deductive” คือความคิดความเชื่อที่ว่าพฤติกรรมมีความสัมพันธ์กับสภาวะแวดล้อมและเป็นไปตามสูตร ดังนี้ (Hull, 1994)
sEr = sHr x D X K X V
sEr = พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามแนวโน้ม S – R ซึ่งขึ้นอยู่กับนิสัย
sHr = นิสัย (การกระทำ) เป็นการเสริมแรงตามหลักของจิตวิทยา
S – R ประกอบด้วย D และ K
D = แรงขับ
K = สิ่งล่อใจจากภายนอก
V = อำนาจการเร้าของ K
ฮาล (Clatk Hull) เป็นหนึ่งในหมู่นักวิทยาศาสตร์กลุ่มลัทธิพฤติกรรมนิยม[Behavioralism]
เช่นเดียวกับ โทลแมน และ สกินนเนอร์ (Guthric Tolman and Skinner) ซึ่งสนใจและศึกษาพฤติกรรมตามแนวความคิดของวัทสัน นักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้ลดความสำคัญของคำว่า “จิตใจ” และพยายามหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำๆ นี้โดยมุ่งเน้นการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรมสังเกตได้ วัดได้ ทดลองและทำซ้ำได้ แสดงหรือพิสูจน์ได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ซึ่งเป็นการศึกษาตามระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น โดยเฉพาะฮาล ซึ่งมีพื้นฐานความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีที่ชื่อว่า “Hypothetico-deductive or mathematico deductive” คือความคิดความเชื่อที่ว่าพฤติกรรมมีความสัมพันธ์กับสภาวะแวดล้อมและเป็นไปตามสูตร ดังนี้ (Hull, 1994)
sEr = sHr x D X K X V
sEr = พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามแนวโน้ม S – R ซึ่งขึ้นอยู่กับนิสัย
sHr = นิสัย (การกระทำ) เป็นการเสริมแรงตามหลักของจิตวิทยา
S – R ประกอบด้วย D และ K
D = แรงขับ
K = สิ่งล่อใจจากภายนอก
V = อำนาจการเร้าของ K
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ วัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ วัตสัน (John B. Watson)
วัดสัน (John B. Watson) ผู้ริเริ่มลัทธิพฤติกรรมนิยมซึ่งหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึงจิตใจของมนุษย์ เขาอธิบายเรื่องจิตใจโดยเน้นการกระทำเป็นหลัก กล่าวคือพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์เกิดขึ้นและแปรเปลี่ยนไปตามสภาวะแวดล้อมหรือสิ่งเร้าต่างๆ ที่ถูกจัดสร้างขึ้นหรือเป็นไปตามสภาพธรรมชาติ จะช่วยให้เราสามารถควบคุมและทำนายพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลได้ เขาสังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงไปตามปฏิกิริยาในของอินทรีย์ซึ่งหมายถึงระบบประสาทและอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายซึ่งจะเกิดการเรียนรู้และตอบสนองตามปริมาณความเข้มของสิ่งเร้าในขณะนั้น ซึ่งถือว่าเป็นการเรียนรู้ตามประสบการณ์ ภายในร่างกายของบุคคลมีพฤติกรรมมากมายที่วัตสันอธิบายว่าเป็นเพราะการทำงานของสมองรวมทั้งระบบประสาททั้งหมดเขาพยายามที่จะจำกัดขอบเขตการศึกษาค้นคว้าวิจัยเฉพาะพฤติกรรมภายนอกและการศึกษาพฤติกรรมนี้ประกอบด้วยตัวแปร 3 ประการ คือ
1.ประสามรับสัมผัสของอินทรีย์ (organism’s receptors)
2.ประสาทสนองตอบของอินทรีย์ (organism’s effectors)
3.ระบบประสาททั้งหมด (The nervous system)
วัดสัน (John B. Watson) ผู้ริเริ่มลัทธิพฤติกรรมนิยมซึ่งหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึงจิตใจของมนุษย์ เขาอธิบายเรื่องจิตใจโดยเน้นการกระทำเป็นหลัก กล่าวคือพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์เกิดขึ้นและแปรเปลี่ยนไปตามสภาวะแวดล้อมหรือสิ่งเร้าต่างๆ ที่ถูกจัดสร้างขึ้นหรือเป็นไปตามสภาพธรรมชาติ จะช่วยให้เราสามารถควบคุมและทำนายพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลได้ เขาสังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเปลี่ยนแปลงไปตามปฏิกิริยาในของอินทรีย์ซึ่งหมายถึงระบบประสาทและอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายซึ่งจะเกิดการเรียนรู้และตอบสนองตามปริมาณความเข้มของสิ่งเร้าในขณะนั้น ซึ่งถือว่าเป็นการเรียนรู้ตามประสบการณ์ ภายในร่างกายของบุคคลมีพฤติกรรมมากมายที่วัตสันอธิบายว่าเป็นเพราะการทำงานของสมองรวมทั้งระบบประสาททั้งหมดเขาพยายามที่จะจำกัดขอบเขตการศึกษาค้นคว้าวิจัยเฉพาะพฤติกรรมภายนอกและการศึกษาพฤติกรรมนี้ประกอบด้วยตัวแปร 3 ประการ คือ
1.ประสามรับสัมผัสของอินทรีย์ (organism’s receptors)
2.ประสาทสนองตอบของอินทรีย์ (organism’s effectors)
3.ระบบประสาททั้งหมด (The nervous system)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ บี เอฟ สกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ บี เอฟ สกินเนอร์ B.F. Skinner
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขการกระทำทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขการกระทำ พัฒนาขึ้นโดย บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F. Skinner, 1904-1990) มีแนวความคิดพื้นฐานว่า พฤติกรรมของมนุษย์ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเงื่อนไขการเสริมแรงและลงโทษ
การเสริมแรงมี 2 ประเภท คือ1.การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement)2. การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement)การเสริมแรงทางบวก เป็นการกระทำชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดความพึงพอใจกับผู้เรียนและความพึงพอใจนั้นทำให้เกิดการตอบสนองที่ต้องการมากครั้งขึ้นหรือตอบสนองอย่างเข้มข้นขึ้น เช่น การให้อาหาร คำชมเชย ของขวัญ ฯลฯการเสริมแรงทางลบ เป็นการพยายามทำให้เกิดการตอบสนองเพิ่มขึ้น หรือเข้มข้นขึ้น โดยการกำจัดสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ออกไป เช่น การกำจัดเสียงดัง การลดการลงโทษ การลดการดุด่า เป็นต้น
การลงโทษ (Punishment)การลงโทษจะให้ผลตรงกันข้ามกับการเสริมแรง กล่าวคือ การเสริมแรงเป็นการทำให้การตอบสนองเพิ่มมากขึ้น แต่การลงโทษเป็นการทำให้การตอบสนองลดน้อยลง การลงโทษทำโดยการให้สิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์หรือสิ่งเร้าที่เป็นภัย ในทันทีทันใดหลังจากการแสดงพฤติกรรมที่ไม่ดีหรือไม่ต้องการออกมา ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำนั้น พฤติกรรมหรือการตอบสนองจะขึ้นอยู่กับการเสริมแรงเป็นสำคัญ
การเสริมแรง พฤติกรรมดำเนินไปอย่างซ้ำ ๆ สม่ำเสมอพฤติกรรมการทำโทษ พฤติกรรมจะค่อย ๆ ลดลง
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขการกระทำทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขการกระทำ พัฒนาขึ้นโดย บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F. Skinner, 1904-1990) มีแนวความคิดพื้นฐานว่า พฤติกรรมของมนุษย์ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเงื่อนไขการเสริมแรงและลงโทษ
การเสริมแรงมี 2 ประเภท คือ1.การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement)2. การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement)การเสริมแรงทางบวก เป็นการกระทำชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดความพึงพอใจกับผู้เรียนและความพึงพอใจนั้นทำให้เกิดการตอบสนองที่ต้องการมากครั้งขึ้นหรือตอบสนองอย่างเข้มข้นขึ้น เช่น การให้อาหาร คำชมเชย ของขวัญ ฯลฯการเสริมแรงทางลบ เป็นการพยายามทำให้เกิดการตอบสนองเพิ่มขึ้น หรือเข้มข้นขึ้น โดยการกำจัดสิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์ออกไป เช่น การกำจัดเสียงดัง การลดการลงโทษ การลดการดุด่า เป็นต้น
การลงโทษ (Punishment)การลงโทษจะให้ผลตรงกันข้ามกับการเสริมแรง กล่าวคือ การเสริมแรงเป็นการทำให้การตอบสนองเพิ่มมากขึ้น แต่การลงโทษเป็นการทำให้การตอบสนองลดน้อยลง การลงโทษทำโดยการให้สิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์หรือสิ่งเร้าที่เป็นภัย ในทันทีทันใดหลังจากการแสดงพฤติกรรมที่ไม่ดีหรือไม่ต้องการออกมา ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำนั้น พฤติกรรมหรือการตอบสนองจะขึ้นอยู่กับการเสริมแรงเป็นสำคัญ
การเสริมแรง พฤติกรรมดำเนินไปอย่างซ้ำ ๆ สม่ำเสมอพฤติกรรมการทำโทษ พฤติกรรมจะค่อย ๆ ลดลง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของอัลเบิร์ต แบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ อัลเบิร์ต บันดูรา ( Albert Bandura )
อัลเบิร์ต บันดูรา ( Albert Bandura ) ซึ่งเชื่อว่า สิ่งแวดล้อมและผู้เรียนมีความสำคัญเท่า ๆ กัน พฤติกรรมของคนเราส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต ( Observational Learning ) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ ( Modeling ) และตัวแบบก็ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งที่มีชีวิตเสมอไปด้วย อาจเป็นสัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพการ์ตูน หนังสือ หรือคำบอกเล่า เป็นต้น
อัลเบิร์ต บันดูรา ( Albert Bandura ) ซึ่งเชื่อว่า สิ่งแวดล้อมและผู้เรียนมีความสำคัญเท่า ๆ กัน พฤติกรรมของคนเราส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต ( Observational Learning ) หรือการเลียนแบบจากตัวแบบ ( Modeling ) และตัวแบบก็ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งที่มีชีวิตเสมอไปด้วย อาจเป็นสัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพการ์ตูน หนังสือ หรือคำบอกเล่า เป็นต้น
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโคล์เลอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโคล์เลอร์
การเรียนรู้ด้วยการหยั่งรู้ ( Insight )เป็นแนวคิดของ โคท์เลอร์ ( Kohler ) ซึ่งการเรียนรู้ด้วยการหยั่งรู้นี้เป็นการอธิบายถึง กระบวนการรู้คิด ( Cognitive Processes ) ที่เกิดในระหว่างการเรียนรู้ โดยมีการเน้นความสำคัญของผู้เรียนว่าจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทำหรือเป็นผู้ที่ริเริ่มและกระตือรือร้น
การนำความรู้ทฤษฎีการหยั่งเห็นไปใช้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนมีแนวทางในการนำไปใช้ ดังนี้
1.ลักษณะของประสบการณ์การเรียนรู้ (สถานการณ์) ที่เหมาะสม โดยจัดกิจกรรมหลายรูปแบบ ให้ประสบการณ์ที่หลากหลาย ทำให้ผู้เรียนมีความรู้สะสม มีความชำนาญในการพิจารณาสถานการณ์ และปัญหา ครั้นเมื่อผู้เรียนพบปัญหาใหม่ก็จะเกิดการใคร่ครวญและจัดประสบการณ์เหล่านั้น หาคำตอบหรือวิธีการแก้ปัญหา อันจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็นได้ คือการค้นพบวิธีการ หรือคำตอบได้ในทันทีทันใด2.ความแตกต่างทางสติปัญญาของผู้เรียน การเรียนรู้โดยการหยั่งเห็นเป็นการใช้ประสบการณ์และความสามารถทางสติปัญญาประกอบกัน ฉะนั้นผู้มีสติปัญญาสูงย่อมมีโอกาสที่จะเกิดการหยั่งเห็นได้ดีกว่าผู้มีสติปัญญาต่ำ3.แบบการเรียนรู้ของผู้เรียน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้แบบการเรียนรู้ได้หลายแบบ เพราะบางแบบเหมาะกับบางคน เมื่อผู้เรียนได้พบแบบการเรียนรู้ที่เหมาะกับตน อาจเลือกไว้เป็นแบบเฉพาะเพื่อการนำไปใช้ ผู้เรียนบางคนอาจเหมาะสมกับการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็น บางคนอาจเหมาะสมกับการเรียนรู้โดยการกระทำ หรือบางคนอาจเหมาะกับการเรียนรู้ทางปัญญา (จากการสังเกต)4.การรู้จักผู้เรียนอย่างแท้จริง ถ้าผู้สอนรู้จักผู้เรียนอย่างแท้จริงย่อมสามารถเลือก และจัดบทเรียน ได้เหมาะสมกับสภาพและความสามารถทางการเรียนของผู้เรียน ย่อมจะรู้ดีว่าผู้เรียนคนใดมีความสามารถทางการเรียนสูง มีความสามารถทางการเรียนต่ำ หรือผู้เรียนคนใดเหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้แบบใด เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้สอนสามารถที่จะส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียนแต่ละคนให้เกิดขึ้นได้ และย่อมเข้าใจในผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
การเรียนรู้ด้วยการหยั่งรู้ ( Insight )เป็นแนวคิดของ โคท์เลอร์ ( Kohler ) ซึ่งการเรียนรู้ด้วยการหยั่งรู้นี้เป็นการอธิบายถึง กระบวนการรู้คิด ( Cognitive Processes ) ที่เกิดในระหว่างการเรียนรู้ โดยมีการเน้นความสำคัญของผู้เรียนว่าจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทำหรือเป็นผู้ที่ริเริ่มและกระตือรือร้น
การนำความรู้ทฤษฎีการหยั่งเห็นไปใช้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนมีแนวทางในการนำไปใช้ ดังนี้
1.ลักษณะของประสบการณ์การเรียนรู้ (สถานการณ์) ที่เหมาะสม โดยจัดกิจกรรมหลายรูปแบบ ให้ประสบการณ์ที่หลากหลาย ทำให้ผู้เรียนมีความรู้สะสม มีความชำนาญในการพิจารณาสถานการณ์ และปัญหา ครั้นเมื่อผู้เรียนพบปัญหาใหม่ก็จะเกิดการใคร่ครวญและจัดประสบการณ์เหล่านั้น หาคำตอบหรือวิธีการแก้ปัญหา อันจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็นได้ คือการค้นพบวิธีการ หรือคำตอบได้ในทันทีทันใด2.ความแตกต่างทางสติปัญญาของผู้เรียน การเรียนรู้โดยการหยั่งเห็นเป็นการใช้ประสบการณ์และความสามารถทางสติปัญญาประกอบกัน ฉะนั้นผู้มีสติปัญญาสูงย่อมมีโอกาสที่จะเกิดการหยั่งเห็นได้ดีกว่าผู้มีสติปัญญาต่ำ3.แบบการเรียนรู้ของผู้เรียน ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้แบบการเรียนรู้ได้หลายแบบ เพราะบางแบบเหมาะกับบางคน เมื่อผู้เรียนได้พบแบบการเรียนรู้ที่เหมาะกับตน อาจเลือกไว้เป็นแบบเฉพาะเพื่อการนำไปใช้ ผู้เรียนบางคนอาจเหมาะสมกับการเรียนรู้โดยการหยั่งเห็น บางคนอาจเหมาะสมกับการเรียนรู้โดยการกระทำ หรือบางคนอาจเหมาะกับการเรียนรู้ทางปัญญา (จากการสังเกต)4.การรู้จักผู้เรียนอย่างแท้จริง ถ้าผู้สอนรู้จักผู้เรียนอย่างแท้จริงย่อมสามารถเลือก และจัดบทเรียน ได้เหมาะสมกับสภาพและความสามารถทางการเรียนของผู้เรียน ย่อมจะรู้ดีว่าผู้เรียนคนใดมีความสามารถทางการเรียนสูง มีความสามารถทางการเรียนต่ำ หรือผู้เรียนคนใดเหมาะสมกับสถานการณ์การเรียนรู้แบบใด เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้สอนสามารถที่จะส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียนแต่ละคนให้เกิดขึ้นได้ และย่อมเข้าใจในผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี
ทฤษฎีการเรียนรู้ของไอวาน พาร์พลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ( Classical Conditioning ) ของ ไอวาน พาร์พลอฟ ( Ivan Pavlop )พฤติกรรมที่จะเกิดการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกได้มักเป็นพฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อน อันมีพื้นฐานมาจากการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การทำงานของต่อมต่าง ๆในร่างกาย การทำงานของระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ พฤติกรรมการตอบสนองในการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเหล่านี้ เรียกว่า พฤติกรรมตอบสนอง หรือพฤติกรรมที่เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ พาร์พลอฟ เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข (conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือสถานการณ์เกิดขึ้น ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข (เพราะโดยปกติเสียงกระดิ่งมิได้ทำให้สุนัขน้ำลายไหล แต่คนต้องการให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง) พาร์พลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข (conditioned stimulus) และปฏิกิริยาน้ำลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนองที่มีเงื่อนไข (conditioned response)
วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2550
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แม่ฮ่องสอน เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 3 ขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ
ภูมิศาสตร์
แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออก ในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม อุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก)
แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออก ในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม อุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก)
ประชากร
ประชากรในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีความหลากหลาย ทั้งคนเมือง ชาวไต (ชาวไทยใหญ่) จีนฮ่อ พม่า และชาวเขาเผ่าต่างๆ ราว 60% ของประชากรทั้งหมด ได้แก่ ม้ง (แม้ว) ลีซู (ลีซอ) ล่าหู่ (มูเซอร์) ลัวะ และปกฺากะญอ (กะเหรี่ยง) เป็นต้น โดยต่างรักษาวัฒนธรรมของตนเอาไว้ได้เป็นอย่างดี ขณะเดียวกันก็อยู่ร่วมกับเพื่อนบ้านที่มีวัฒนธรรมต่างกันได้โดยไม่เคยปรากฏความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมแต่อย่างใดด้วยความหลากหลายของเชื้อชาติดังกล่าวนี้ ประชากรในแม่ฮ่องสอนจึงมีการใช้ภาษาที่หลากหลายด้วย
ประชากรในจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีความหลากหลาย ทั้งคนเมือง ชาวไต (ชาวไทยใหญ่) จีนฮ่อ พม่า และชาวเขาเผ่าต่างๆ ราว 60% ของประชากรทั้งหมด ได้แก่ ม้ง (แม้ว) ลีซู (ลีซอ) ล่าหู่ (มูเซอร์) ลัวะ และปกฺากะญอ (กะเหรี่ยง) เป็นต้น โดยต่างรักษาวัฒนธรรมของตนเอาไว้ได้เป็นอย่างดี ขณะเดียวกันก็อยู่ร่วมกับเพื่อนบ้านที่มีวัฒนธรรมต่างกันได้โดยไม่เคยปรากฏความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมแต่อย่างใดด้วยความหลากหลายของเชื้อชาติดังกล่าวนี้ ประชากรในแม่ฮ่องสอนจึงมีการใช้ภาษาที่หลากหลายด้วย
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเภอ 45 ตำบล 402 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
2. อำเภอขุนยวม
3. อำเภอปาย
4. อำเภอแม่สะเรียง
5. อำเภอแม่ลาน้อย
6. อำเภอสบเมย
7. อำเภอปางมะผ้า
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกบัวตอง (Tithonia diversifolia)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: กระพี้จั่น (Millettia brandisiana)
คำขวัญประจำจังหวัด: หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียวขจี ผู้คนดี ประเพณีงาม ลือนามถิ่นบัวตอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเภอ 45 ตำบล 402 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
2. อำเภอขุนยวม
3. อำเภอปาย
4. อำเภอแม่สะเรียง
5. อำเภอแม่ลาน้อย
6. อำเภอสบเมย
7. อำเภอปางมะผ้า
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกบัวตอง (Tithonia diversifolia)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: กระพี้จั่น (Millettia brandisiana)
คำขวัญประจำจังหวัด: หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียวขจี ผู้คนดี ประเพณีงาม ลือนามถิ่นบัวตอง
Mae Hong Son (Thai แม่ฮ่องสอน) (also Maehongson, Mae Hong Sorn or Maehongsorn) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand, and at the same time the westernmost. Neighboring provinces are (from north clockwise) Shan State of Myanmar, Chiang Mai and Tak. To the west it borders Kayin State and Kayah State of Myanmar again. It was formerly called Mae Rong Son (also Maerongson, Mae Rong Sorn or Maerongsorn).[1]
Geography
Most of the areas of Mae Hong Son Province are complex mountain ranges and likely still pristine virgin forest. Of the approximately 6,976,650 rai of national forest reserves, 88.02% is thought to be pristine virgin forest. Mountain ranges run unbroken from north to south with important mountain ranges being the Lao-territory mountains located on the northernmost portion of the province that serve as a boundary between Thailand and the Union of Burma and the Thanon Thongchai Mountains which are in fact three adjoining ranges, the East, West and Central Thanon Thongchai mountain ranges respectively; the West Thanon Thongchai Mountains serve as a boundary between Thailand and the Union of Burma. The mountains in the east of the province serves as the boundary between the provinces of Mae Hong Son and Chiang Mai. The tallest point is Mae Ya Peak (ยอดเขาแม่ยะ) of the East Thanon Thongchai Mountains in the Pai District in the province's northeast, at 2005 metres above sea level.[3]
Most of the areas of Mae Hong Son Province are complex mountain ranges and likely still pristine virgin forest. Of the approximately 6,976,650 rai of national forest reserves, 88.02% is thought to be pristine virgin forest. Mountain ranges run unbroken from north to south with important mountain ranges being the Lao-territory mountains located on the northernmost portion of the province that serve as a boundary between Thailand and the Union of Burma and the Thanon Thongchai Mountains which are in fact three adjoining ranges, the East, West and Central Thanon Thongchai mountain ranges respectively; the West Thanon Thongchai Mountains serve as a boundary between Thailand and the Union of Burma. The mountains in the east of the province serves as the boundary between the provinces of Mae Hong Son and Chiang Mai. The tallest point is Mae Ya Peak (ยอดเขาแม่ยะ) of the East Thanon Thongchai Mountains in the Pai District in the province's northeast, at 2005 metres above sea level.[3]
Demographics
63% of the population in the province are members of the hill tribes, among them the Hmong, Yao, Lahu, Lisu, Akha and Karen. Another big ethnic group are the Shan. The province has the lowest population density of all the provinces of Thailand
Administrative divisions
The province is subdivided in 7 districts (Amphoe). These are further subdivided into 45 communes (tambon) and 402 villages (muban).
1. Mae Hong Son
2. Khun Yuam
3. Pai
4. Mae Sariang
5. Mae La Noi
6. Sop Moei
7. Pangmapha
63% of the population in the province are members of the hill tribes, among them the Hmong, Yao, Lahu, Lisu, Akha and Karen. Another big ethnic group are the Shan. The province has the lowest population density of all the provinces of Thailand
Administrative divisions
The province is subdivided in 7 districts (Amphoe). These are further subdivided into 45 communes (tambon) and 402 villages (muban).
1. Mae Hong Son
2. Khun Yuam
3. Pai
4. Mae Sariang
5. Mae La Noi
6. Sop Moei
7. Pangmapha
Symbols
The provincial seal, Rup chang nai thong nam (รูปช้างในท้องน้ำ), is a reference to the training of wild elephants to be able to take orders in battle and for various types of animal labour.
The decision behind the selection of Rup chang nai thong nam, meaning Image of an Elephant in a Body of Water, as the provincial seal was because this was the origin of Mae Hong Son's founding, which first began with Lord Kaeo of Ma being sent to capture elephants for the Lord of Chiang Mai (1825-1846). Once in Mae Hong Son, he gathered the scattered Shan settlements to establish two main villages to be ruled over by their elected leaders, the villages of Ban Pang Mu and Ban Mae Hong Son. Indeed, the reason for the name Mae Hong Son or Village of the Elephant Training Camp Bayou was simply because the elephant training camp established there was in an area with a nearby brook.
The provincial tree is Millettia brandisiana, and the provincial flower is the tree marigold.
The official province slogan as promoted by the Thai government is:
Thai: หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียวขจี ผู้คนดี ประเพณีงาม ลือนามถิ่นบัวตอง
RTGS: mok sam ruedu, Kong Mu siat fa, pa khiao khachi, phu khon di, prapheni ngam, lue nam thin bua tong
Mists thoughout the three seasons, the Kong Mu (Monastery) that scrapes the sky, verdant forests, gentle people, beautiful customs; renowned land of sunflowers
The provincial seal, Rup chang nai thong nam (รูปช้างในท้องน้ำ), is a reference to the training of wild elephants to be able to take orders in battle and for various types of animal labour.
The decision behind the selection of Rup chang nai thong nam, meaning Image of an Elephant in a Body of Water, as the provincial seal was because this was the origin of Mae Hong Son's founding, which first began with Lord Kaeo of Ma being sent to capture elephants for the Lord of Chiang Mai (1825-1846). Once in Mae Hong Son, he gathered the scattered Shan settlements to establish two main villages to be ruled over by their elected leaders, the villages of Ban Pang Mu and Ban Mae Hong Son. Indeed, the reason for the name Mae Hong Son or Village of the Elephant Training Camp Bayou was simply because the elephant training camp established there was in an area with a nearby brook.
The provincial tree is Millettia brandisiana, and the provincial flower is the tree marigold.
The official province slogan as promoted by the Thai government is:
Thai: หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียวขจี ผู้คนดี ประเพณีงาม ลือนามถิ่นบัวตอง
RTGS: mok sam ruedu, Kong Mu siat fa, pa khiao khachi, phu khon di, prapheni ngam, lue nam thin bua tong
Mists thoughout the three seasons, the Kong Mu (Monastery) that scrapes the sky, verdant forests, gentle people, beautiful customs; renowned land of sunflowers
จังหวัดอุทัยธานี
จังหวัดอุทัยานีเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือ มีพื้นที่ใกล้จังหวัดนครสวรรค์ ชัยนาท สุพรรณบุรี กาญจนบุรีและตาก
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ - กิ่งอำเภอ 68 ตำบล 632 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองอุทัยธานี
2. อำเภอทัพทัน
3. อำเภอสว่างอารมณ์
4. อำเภอหนองฉาง
5. อำเภอหนองขาหย่าง
6. อำเภอบ้านไร่
7. อำเภอลานสัก
8. อำเภอห้วยคต
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกสุพรรณิการ์ (Cochlospermum regium)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: สะเดา (Azadirachta indica v. siamensis)
คำขวัญประจำจังหวัด: อุทัยธานี เมืองพระชนกจักกรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ
Uthai Thani (Thai อุทัยธานี) is one of the provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Nakhon Sawan, Chai Nat, Suphan Buri, Kanchanaburi and Tak.
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ - กิ่งอำเภอ 68 ตำบล 632 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองอุทัยธานี
2. อำเภอทัพทัน
3. อำเภอสว่างอารมณ์
4. อำเภอหนองฉาง
5. อำเภอหนองขาหย่าง
6. อำเภอบ้านไร่
7. อำเภอลานสัก
8. อำเภอห้วยคต
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกสุพรรณิการ์ (Cochlospermum regium)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: สะเดา (Azadirachta indica v. siamensis)
คำขวัญประจำจังหวัด: อุทัยธานี เมืองพระชนกจักกรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว ส้มโอบ้านน้ำตก มรดกโลกห้วยขาแข้ง แหล่งต้นน้ำสะแกกรัง ตลาดนัดดังโคกระบือ
Uthai Thani (Thai อุทัยธานี) is one of the provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Nakhon Sawan, Chai Nat, Suphan Buri, Kanchanaburi and Tak.
Administrative divisions
The province is subdivided in 8 districts (Amphoe). These are further subdivided into 70 communes (tambon) and 589 villages (muban).
1. Mueang Uthai Thani
2. Thap Than
3. Sawang Arom
4. Nong Chang
5. Nong Khayang
6. Ban Rai
7. Lan Sak
8. Huai Khot
The province is subdivided in 8 districts (Amphoe). These are further subdivided into 70 communes (tambon) and 589 villages (muban).
1. Mueang Uthai Thani
2. Thap Than
3. Sawang Arom
4. Nong Chang
5. Nong Khayang
6. Ban Rai
7. Lan Sak
8. Huai Khot
Symbols
The provincial seal depicts the pavilion at Wat Khao Sakaekrang. It houses the statue of Thongdee, the father of King Rama I. The mountain in the background symbolizes the location of the pavilion on top of a hill.
Provincial flower is the Yellow Cotton Tree (Cochlospermum regium), provincial tree is Neem (Azadirachta indica v. siamensis).
The flag of Uthai Thani depicts the provincial seal of Uthai Thani in the middle. The yellow color in the top of the flag is the symbol color of the Chakri dynasty, as Gold as a precious metal is a symbol for the Thai monarchy. The green color in bottom is the symbol color of King Rama I as he was born on a Wednesday, which is associated with green in the Thai calendar. The text below the seal says Uthai Thani province.
The provincial seal depicts the pavilion at Wat Khao Sakaekrang. It houses the statue of Thongdee, the father of King Rama I. The mountain in the background symbolizes the location of the pavilion on top of a hill.
Provincial flower is the Yellow Cotton Tree (Cochlospermum regium), provincial tree is Neem (Azadirachta indica v. siamensis).
The flag of Uthai Thani depicts the provincial seal of Uthai Thani in the middle. The yellow color in the top of the flag is the symbol color of the Chakri dynasty, as Gold as a precious metal is a symbol for the Thai monarchy. The green color in bottom is the symbol color of King Rama I as he was born on a Wednesday, which is associated with green in the Thai calendar. The text below the seal says Uthai Thani province.
จังหวัดอุตรดิตถ์
จังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนล่าง ได้ชื่อว่าเมืองแห่งพระแท่นศิลาอาสน์ ตำนานอันลึกลับ ของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม และบ้านเกิดของพระยาพิชัยดาบหัก ขุนศึกคู่บารมีของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
อุตรดิตถ์เป็นเมืองก่อนประวัติศาสตร์ มีหลักฐานการค้นพบโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในสมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี เมืองพิชัยและสวางคบุรีเป็นเมืองที่มีความสำคัญ ทางยุทธศาสตร์ เป็นเมืองหน้าด่านของกรุงศรีอยุธยา เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์เป็นเพียงตำบล ชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" ขึ้นกับเมืองพิชัย แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้า ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ยกฐานะ ตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่าท่าน้ำแห่งทิศเหนือ แต่ยังคงขึ้นกับเมืองพิชัยอยู่ ต่อมาเมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้นมากกว่าเมืองพิชัย เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และเมืองพิชัยเลื่อนลงไปเป็นอำเภอหนึ่งขึ้นกับจังหวัดอุตรดิตถ์จนทุกวันนี้
อุตรดิตถ์เป็นเมืองก่อนประวัติศาสตร์ มีหลักฐานการค้นพบโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในสมัยอยุธยาและสมัยธนบุรี เมืองพิชัยและสวางคบุรีเป็นเมืองที่มีความสำคัญ ทางยุทธศาสตร์ เป็นเมืองหน้าด่านของกรุงศรีอยุธยา เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์เป็นเพียงตำบล ชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" ขึ้นกับเมืองพิชัย แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้า ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ยกฐานะ ตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่าท่าน้ำแห่งทิศเหนือ แต่ยังคงขึ้นกับเมืองพิชัยอยู่ ต่อมาเมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้นมากกว่าเมืองพิชัย เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด และเมืองพิชัยเลื่อนลงไปเป็นอำเภอหนึ่งขึ้นกับจังหวัดอุตรดิตถ์จนทุกวันนี้
ประวัติ
ประวัติความเป็นมาต้นกำเนิดของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีแหล่งกำเนิดมาจากท่าน้ำที่ สำคัญ 3 ท่า คือ ท่าเซา ท่าอิด และท่าโพธิ์ ซึ่งมีความสำคัญและเจริญรุ่ง เรืองมาแต่สมัยขอมปกครองท่าอิด ตั้งแต่ พ.ศ. 1400 คำว่า อุตรดิตถ์ เดิมเขียน เป็น อุตรดิษฐ์ (อุตร-เหนือ, ดิตถ์-ท่าน้ำ) เป็นคำที่ตั้งขึ้นในภายหลัง โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี พระราชทานนาม ไว้เมื่อ พ.ศ. 2395 แปลว่า ท่าเรือด้านทิศเหนือของสยามประเทศ
ท่าอิด คือ บริเวณท่าอิฐบนและท่าอิฐล่างปัจจุบัน
ท่าโพธิ์ คือ บริเวณวัดท่าถนน ตลาดบางโพ เนื่องจากมีต้นโพธิ์มาก มีคลองไหลผ่าน เรียกว่า คลองบางโพธิ์ (เพี้ยนมาเป็นบางโพ)
ท่าเซา คือ บริเวณตลาดท่าเสา (เซา เป็นภาษาเหนือ แปลว่า พักนอน)
ท่าอิด (อิด แปลว่า เหนื่อย) เนื่องจากการเดินทางมาค้าขายที่ท่าอิดทางเรือ และทางบกของจังหวัดภาคเหนือและภาคกลางสมัยโบราณ กว่าจะถึงก็เหนื่อย ท่าอิดเป็นท่าที่มีความเจริญทางการค้ามากกว่าทุกท่าในภาคเหนือ เป็นท่าจอดเรือ ค้าขายจากมณฑลภาคเหนือและภาคกลางรวมถึงเชียงตุง เชียงแสน หัวพันทั้งห้าทั้งหก สิบสองปันนา สิบสองจุไทย เดิมท่าอิดอยู่ในความปกครองของขอมตลอดจน ถึงสมัยสุโขทัย ขอมหมดอำนาจ ท่าอิดจึงเป็นเมืองท่าขึ้นอยู่กับเมืองทุ่งยั้ง อันเป็นเมืองหน้าด่านของสุโขทัย สมัยต่อมาแควน่านได้เปลี่ยนทางเดินทำให้หาดท่าอิดงอกออกไปทางตะวันออกมากทุก ๆ ปี ท่าอิดจึงเลื่อนตามลงไปเรื่อยๆ เรียกว่าหาดท่าอิดล่าง ท่าอิดเดิมเรียกว่าท่าอิดบน ท่าอิดล่างก็ยังคงเป็น ศูนย์การค้ามาตลอดจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติความเป็นมาต้นกำเนิดของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีแหล่งกำเนิดมาจากท่าน้ำที่ สำคัญ 3 ท่า คือ ท่าเซา ท่าอิด และท่าโพธิ์ ซึ่งมีความสำคัญและเจริญรุ่ง เรืองมาแต่สมัยขอมปกครองท่าอิด ตั้งแต่ พ.ศ. 1400 คำว่า อุตรดิตถ์ เดิมเขียน เป็น อุตรดิษฐ์ (อุตร-เหนือ, ดิตถ์-ท่าน้ำ) เป็นคำที่ตั้งขึ้นในภายหลัง โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี พระราชทานนาม ไว้เมื่อ พ.ศ. 2395 แปลว่า ท่าเรือด้านทิศเหนือของสยามประเทศ
ท่าอิด คือ บริเวณท่าอิฐบนและท่าอิฐล่างปัจจุบัน
ท่าโพธิ์ คือ บริเวณวัดท่าถนน ตลาดบางโพ เนื่องจากมีต้นโพธิ์มาก มีคลองไหลผ่าน เรียกว่า คลองบางโพธิ์ (เพี้ยนมาเป็นบางโพ)
ท่าเซา คือ บริเวณตลาดท่าเสา (เซา เป็นภาษาเหนือ แปลว่า พักนอน)
ท่าอิด (อิด แปลว่า เหนื่อย) เนื่องจากการเดินทางมาค้าขายที่ท่าอิดทางเรือ และทางบกของจังหวัดภาคเหนือและภาคกลางสมัยโบราณ กว่าจะถึงก็เหนื่อย ท่าอิดเป็นท่าที่มีความเจริญทางการค้ามากกว่าทุกท่าในภาคเหนือ เป็นท่าจอดเรือ ค้าขายจากมณฑลภาคเหนือและภาคกลางรวมถึงเชียงตุง เชียงแสน หัวพันทั้งห้าทั้งหก สิบสองปันนา สิบสองจุไทย เดิมท่าอิดอยู่ในความปกครองของขอมตลอดจน ถึงสมัยสุโขทัย ขอมหมดอำนาจ ท่าอิดจึงเป็นเมืองท่าขึ้นอยู่กับเมืองทุ่งยั้ง อันเป็นเมืองหน้าด่านของสุโขทัย สมัยต่อมาแควน่านได้เปลี่ยนทางเดินทำให้หาดท่าอิดงอกออกไปทางตะวันออกมากทุก ๆ ปี ท่าอิดจึงเลื่อนตามลงไปเรื่อยๆ เรียกว่าหาดท่าอิดล่าง ท่าอิดเดิมเรียกว่าท่าอิดบน ท่าอิดล่างก็ยังคงเป็น ศูนย์การค้ามาตลอดจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
สภาพภูมิศาสตร์
จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่ใต้สุดของภาคเหนือ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดแพร่ ทิศตะวันออกติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีเขตแนวพรมแดน 120 กิโลเมตร ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดสุโขทัย มีพื้นที่ประมาณ 7,854 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูง ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เทือกเขาเหล่านี้ต่อเนื่องมาจากจังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อำเภอ 67 ตำบล 562 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
2. อำเภอตรอน
3. อำเภอท่าปลา
4. อำเภอน้ำปาด
5. อำเภอฟากท่า
6. อำเภอบ้านโคก
7. อำเภอพิชัย
8. อำเภอลับแล
9. อำเภอทองแสนขัน
จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่ใต้สุดของภาคเหนือ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดแพร่ ทิศตะวันออกติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีเขตแนวพรมแดน 120 กิโลเมตร ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดสุโขทัย มีพื้นที่ประมาณ 7,854 ตารางกิโลเมตร ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูง ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เทือกเขาเหล่านี้ต่อเนื่องมาจากจังหวัดแพร่ และจังหวัดน่าน
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อำเภอ 67 ตำบล 562 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองอุตรดิตถ์
2. อำเภอตรอน
3. อำเภอท่าปลา
4. อำเภอน้ำปาด
5. อำเภอฟากท่า
6. อำเภอบ้านโคก
7. อำเภอพิชัย
8. อำเภอลับแล
9. อำเภอทองแสนขัน
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
· คำขวัญประจำจังหวัด: เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก
· คำขวัญประจำจังหวัด: เหล็กน้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก
Uttaradit (Thai: อุตรดิตถ์) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from south clockwise) Phitsanulok, Sukhothai, Phrae and Nan. To the east it borders Xaignabouli of Laos
History
The name Uttaradit means northern landing, as it was formerly a trade center on the Nan river.
In the Sukhothai era several city state (Mueang) controlled by the King in Sukhothai were located in the area of the modern province. Mueang Fang was located in modern day Mueang Uttaradit district, Mueng Thung Yang in Lablae, Mueang Ta Chuchok in Tron district.
Later in the Ayutthaya kingdom Mueang Phichai was one of the 16 main Mueang of the kingdom. During the reign of King Naresuan the ruler of Phichai together with the ruler of Sawankhalok revolted. After their revolt was suppressed by the King the population of both cities was forced to move to Phitsanulok.
During the war with the Burmese after the fall of Ayutthaya, Phichai was the site of several battles. The ruler of Phichai succeeded to fight back the Burmese and was awarded with the title Phraya Phichai Dabhak.
During the reign of King Rama III Mueang Phichai controlled several Mueang of northern Siam like Nan or Phrae, and even Luang Prabang and Vientiane. At the point where the Nan river became shallow a port was established. As this town grew in importance as an important trade point, in 1887 it was made a Mueang subordinate of Phichai. 1899 the center of Phichai was moved to this new location, which was renamed to Uttaradit in 1915.
History
The name Uttaradit means northern landing, as it was formerly a trade center on the Nan river.
In the Sukhothai era several city state (Mueang) controlled by the King in Sukhothai were located in the area of the modern province. Mueang Fang was located in modern day Mueang Uttaradit district, Mueng Thung Yang in Lablae, Mueang Ta Chuchok in Tron district.
Later in the Ayutthaya kingdom Mueang Phichai was one of the 16 main Mueang of the kingdom. During the reign of King Naresuan the ruler of Phichai together with the ruler of Sawankhalok revolted. After their revolt was suppressed by the King the population of both cities was forced to move to Phitsanulok.
During the war with the Burmese after the fall of Ayutthaya, Phichai was the site of several battles. The ruler of Phichai succeeded to fight back the Burmese and was awarded with the title Phraya Phichai Dabhak.
During the reign of King Rama III Mueang Phichai controlled several Mueang of northern Siam like Nan or Phrae, and even Luang Prabang and Vientiane. At the point where the Nan river became shallow a port was established. As this town grew in importance as an important trade point, in 1887 it was made a Mueang subordinate of Phichai. 1899 the center of Phichai was moved to this new location, which was renamed to Uttaradit in 1915.
Geography
explanation of The largest Teak tree
The province is located in the valley of the Nan River. About 45 kilometers north of the city Uttaradit is the Queen Sirikit Dam, created a 250 km² artificial lake from the Nan.
Most of the province was once covered with teak forests, then the major product of Uttaradit. The largest Teak tree in the world is found at the Ton Sak Yai Park. The 1500 year old tree measures 9.87 m in circumference and 37 m in height - originally it was 48.5 m high, but it was damaged in a storm.
Three National Parks are located in the province—Klong Tron, Lam Nam Nan and Phu Soi Dao.
Administrative divisions
The province is subdivided in 9 districts (Amphoe). These are further subdivided into 67 communes (tambon) and 562 villages (muban).
1. Mueang Uttaradit
2. Tron
3. Tha Pla
4. Nam Pat
5. Fak Tha
6. Ban Khok
7. Phichai
8. Laplae
9. Thong Saen Khan
explanation of The largest Teak tree
The province is located in the valley of the Nan River. About 45 kilometers north of the city Uttaradit is the Queen Sirikit Dam, created a 250 km² artificial lake from the Nan.
Most of the province was once covered with teak forests, then the major product of Uttaradit. The largest Teak tree in the world is found at the Ton Sak Yai Park. The 1500 year old tree measures 9.87 m in circumference and 37 m in height - originally it was 48.5 m high, but it was damaged in a storm.
Three National Parks are located in the province—Klong Tron, Lam Nam Nan and Phu Soi Dao.
Administrative divisions
The province is subdivided in 9 districts (Amphoe). These are further subdivided into 67 communes (tambon) and 562 villages (muban).
1. Mueang Uttaradit
2. Tron
3. Tha Pla
4. Nam Pat
5. Fak Tha
6. Ban Khok
7. Phichai
8. Laplae
9. Thong Saen Khan
Symbols
The provincial seal shows the mondop at the temple Wat Phra Thaen Sila At, in Baan Phra Thaen in the Laplae district. The main item of worship in the temple is a laterite block, which is believed to have been used by Buddha to seek enlightenment. The mondhop is built upon this block.
The seal was first designed in 1940, later a garuda as the symbol of Thailand and the name of the province were added.
The provincial tree is the Teak (Tectona grandis).
The provincial seal shows the mondop at the temple Wat Phra Thaen Sila At, in Baan Phra Thaen in the Laplae district. The main item of worship in the temple is a laterite block, which is believed to have been used by Buddha to seek enlightenment. The mondhop is built upon this block.
The seal was first designed in 1940, later a garuda as the symbol of Thailand and the name of the province were added.
The provincial tree is the Teak (Tectona grandis).
จังหวัดสุโขทัย
จังหวัดสุโขทัย เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง (ในอดีตถูกกำหนดไว้ในส่วนภาคกลางตอนบน) สุโขทัยติดต่อกับ แพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และ ลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ)
ภูมิศาสตร์
สุโขทัยมีลักษณะภูมิประเทศเป็นหุบเขาที่อยู่ใกล้แม่นำยม มีสวนสาธารณะแห่งชาติที่มีชื่อเสียงคือ สวนสาธารณะรามคำแหงอยู่ตอนใต้ของจังหวัดและมีเมืองประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยอยู่ในตอนเหนือ มีพื้นที่เป็นเทือกเขาและมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
ประวัติศาสตร์
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อำเภอ 86 ตำบล 782 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองสุโขทัย
2. อำเภอบ้านด่านลานหอย
3. อำเภอคีรีมาศ
4. อำเภอกงไกรลาศ
5. อำเภอศรีสัชนาลัย
6. อำเภอศรีสำโรง
7. อำเภอสวรรคโลก
8. อำเภอศรีนคร
9. อำเภอทุ่งเสลี่ยม
เป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร์ในราชอาณาจักรสุโขทัย มีพื้นที่ 12 กิโลเมตรห่างจากเมืองสุโขทัยใหม่ และมีเมืองประวัติศาสตร์สรีสัชนาลัยไม่ไกลจากสุโขทัย
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 9 อำเภอ 86 ตำบล 782 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองสุโขทัย
2. อำเภอบ้านด่านลานหอย
3. อำเภอคีรีมาศ
4. อำเภอกงไกรลาศ
5. อำเภอศรีสัชนาลัย
6. อำเภอศรีสำโรง
7. อำเภอสวรรคโลก
8. อำเภอศรีนคร
9. อำเภอทุ่งเสลี่ยม
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกบัวหลวง Nymphaea lotus
ต้นไม้ประจำจังหวัด: ตาล (Afzelia xylocarpa)
คำขวัญประจำจังหวัด: มรดกโลกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ดำรงพุทธศาสนา งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข
คำขวัญเดิม คือ "กำเนิดอักษรไทย งานใหญ่ลอยกระทง มั่นคงพุทธศาสนา พระแม่ย่ามิ่งเมือง อดีตรุ่งเรืองคือเมืองสุโขทัย"
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกบัวหลวง Nymphaea lotus
ต้นไม้ประจำจังหวัด: ตาล (Afzelia xylocarpa)
คำขวัญประจำจังหวัด: มรดกโลกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ดำรงพุทธศาสนา งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข
คำขวัญเดิม คือ "กำเนิดอักษรไทย งานใหญ่ลอยกระทง มั่นคงพุทธศาสนา พระแม่ย่ามิ่งเมือง อดีตรุ่งเรืองคือเมืองสุโขทัย"
Sukhothai (Thai: สุโขทัย) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Phrae, Uttaradit, Phitsanulok, Kamphaeng Phet, Tak and Lampang.
Sukhothai can be translated as Dawn of Happiness
Sukhothai can be translated as Dawn of Happiness
Geography
Sukhothai is located in the valley of the Yom River. The Ramkhamhaeng national park in the south of the province and the Sri Satchanalai in the north-west both protect the mountainous forest areas of the province.
Sukhothai is located in the valley of the Yom River. The Ramkhamhaeng national park in the south of the province and the Sri Satchanalai in the north-west both protect the mountainous forest areas of the province.
History
The province is most famous for the historic city of Sukhothai, the capital of the Sukhothai kingdom. It is located about 12 km from the modern New Sukhothai city. Not far from Sukhothai is the Si Satchanalai historical park, a second city of the same time.
The province is most famous for the historic city of Sukhothai, the capital of the Sukhothai kingdom. It is located about 12 km from the modern New Sukhothai city. Not far from Sukhothai is the Si Satchanalai historical park, a second city of the same time.
Administrative divisions
The province is subdivided in 9 districts (Amphoe). These are further subdivided into 86 communes (tambon) and 782 villages (muban).
Mueang Sukhothai
Ban Dan Lan Hoi
Khiri Mat
Kong Krailat
Si Satchanalai
Si Samrong
Sawankhalok
Si Nakhon
Thung Saliam
Symbols
The provincial seal shows King Ramkhamhaeng the Great sitting on the Managkhasila Asana throne. Under King Ramkhamhaeng the kingdom of Sukhothai did flourished most.
Provincial tree is Afzelia xylocarpa; provincial flower is the Lotus (Nymphaea lotus).
The province is subdivided in 9 districts (Amphoe). These are further subdivided into 86 communes (tambon) and 782 villages (muban).
Mueang Sukhothai
Ban Dan Lan Hoi
Khiri Mat
Kong Krailat
Si Satchanalai
Si Samrong
Sawankhalok
Si Nakhon
Thung Saliam
Symbols
The provincial seal shows King Ramkhamhaeng the Great sitting on the Managkhasila Asana throne. Under King Ramkhamhaeng the kingdom of Sukhothai did flourished most.
Provincial tree is Afzelia xylocarpa; provincial flower is the Lotus (Nymphaea lotus).
จังหวัดลำพูน
ลำพูน เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบนอยู่ติดกับ เชียงใหม่ ลำปาง และ ตาก
History
Under its old name of Haripunchai, Lamphun was the northernmost city of the Mon kingdom of the Dvaravati period, and also the last to fall to the Thai. In the late 12th century it came under siege from the Khmer, but did not fall. However in 1281 King Mengrai of Lannathai finally seized the city, and made it part of his kingdom.
ประวัติศาสตร์
ลำพูนชื่อเดิมนครหริภุญชัย ลำพูนเป็นเมืองที่ดีที่สุดของภาคเหนือ ในสมัยทวารวดีเป็นราชอาณาจักรของมอญ และได้ตกมาเป็นของไทยในศตวรรษที่ 12 ในปี 1281 พ่อขุนเม็งรายของล้านนาไทยได้สร้างเป็นราชอาณาจักรของตน
ลำพูนชื่อเดิมนครหริภุญชัย ลำพูนเป็นเมืองที่ดีที่สุดของภาคเหนือ ในสมัยทวารวดีเป็นราชอาณาจักรของมอญ และได้ตกมาเป็นของไทยในศตวรรษที่ 12 ในปี 1281 พ่อขุนเม็งรายของล้านนาไทยได้สร้างเป็นราชอาณาจักรของตน
ภูมิศาสตร์
ลำพูนเป็นจังหวัดที่เป็นเทือกเขาล้อมรอบ อยู่ติดกับแม่น้ำปิง
ลำพูนเป็นจังหวัดที่เป็นเทือกเขาล้อมรอบ อยู่ติดกับแม่น้ำปิง
หน่วยการปกครอง
จังหวัดลำพูนแบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเภอ 1 กิ่งอำเภอ 51 ตำบล 520 หมู่บ้าน ดังนี้
1. อำเภอเมืองลำพูน
2. อำเภอแม่ทา
3. อำเภอบ้านโฮ่ง
4. อำเภอลี้
5. อำเภอทุ่งหัวช้าง
6. อำเภอป่าซาง
7. อำเภอบ้านธิ
8. กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง
จังหวัดลำพูนแบ่งการปกครองแบ่งออกเป็น 7 อำเภอ 1 กิ่งอำเภอ 51 ตำบล 520 หมู่บ้าน ดังนี้
1. อำเภอเมืองลำพูน
2. อำเภอแม่ทา
3. อำเภอบ้านโฮ่ง
4. อำเภอลี้
5. อำเภอทุ่งหัวช้าง
6. อำเภอป่าซาง
7. อำเภอบ้านธิ
8. กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกทองกวาว (Butea monosperma)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: จามจุรี (Samanea saman)
คำขวัญประจำจังหวัด: พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวีศรีหริภุญไชย
Lamphun (Thai ลำพูน) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Chiang Mai, Lampang and Tak.ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกทองกวาว (Butea monosperma)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: จามจุรี (Samanea saman)
คำขวัญประจำจังหวัด: พระธาตุเด่น พระรอดขลัง ลำไยดัง กระเทียมดี ประเพณีงาม จามเทวีศรีหริภุญไชย
History
Under its old name of Haripunchai, Lamphun was the northernmost city of the Mon kingdom of the Dvaravati period, and also the last to fall to the Thai. In the late 12th century it came under siege from the Khmer, but did not fall. However in 1281 King Mengrai of Lannathai finally seized the city, and made it part of his kingdom.
Administrative divisions
The province is subdivided in 7 districts (Amphoe) and one minor district (King Amphoe). These are further subdivided into 51 communes (tambon) and 520 villages (muban).
Amphoe
King Amphoe
1. Mueang Lamphun
2. Mae Tha
3. Ban Hong
4. Li
5. Thung Hua Chang
6. Pa Sang
7. Ban Thi
8. Wiang Nong Long
Symbols
The provincial seal shows the temple Wat Phra That Haripunchai, which was already the main temple of the city Lamphun during the Mon times. The gold-covered chedi is said to contain a relic of Buddha.
The provincial flower is the Flame of the Forest (Butea monosperma), and the provincial tree is the Rain Tree (Samanea saman).
The province is subdivided in 7 districts (Amphoe) and one minor district (King Amphoe). These are further subdivided into 51 communes (tambon) and 520 villages (muban).
Amphoe
King Amphoe
1. Mueang Lamphun
2. Mae Tha
3. Ban Hong
4. Li
5. Thung Hua Chang
6. Pa Sang
7. Ban Thi
8. Wiang Nong Long
Symbols
The provincial seal shows the temple Wat Phra That Haripunchai, which was already the main temple of the city Lamphun during the Mon times. The gold-covered chedi is said to contain a relic of Buddha.
The provincial flower is the Flame of the Forest (Butea monosperma), and the provincial tree is the Rain Tree (Samanea saman).
จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำปาง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ภูมิประเทศอุดมสมบูรณ์ด้วยป่าไม้และภูเขาสูง มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเดิมว่า เขลางค์นคร เป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า เขลางค์นคร เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในล้านนา เป็นจุดศูนย์รวมทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมล้านนาอันโดดเด่น สมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองลำปางตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ามานานนับสองร้อยปี ดังนั้นสถาปัตยกรรมวัดวาอารามต่าง ๆ ในเมืองจึงได้รับอิทธิพลของศิลปะพม่าเห็นได้อย่างชัดเจน กษัตริย์พระองค์แรกของลำปาง คือ เจ้าพ่อทิพย์ช้าง แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูประบอบการปกครองเป็นระบอบมณฑล เมืองลำปางขึ้นอยู่กับมณฑลพายัพ (เมืองเชียงใหม่) และมณฑลมหาราษฎร์ (เมืองแพร่) ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 6 ได้เปลี่ยนแปลงเป็นจังหวัด เมืองลำปางจึงมีฐานะเป็นจังหวัดหนึ่งตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ภูมิศาสตร์
จังหวัดลำปาง มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอื่นๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และพะเยา
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดพะเยา แพร่ และสุโขทัย
ทิศใต้ ติดกับ จังหวัดสุโขทัย และตาก
ทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และตาก
จังหวัดลำปาง มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอื่นๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และพะเยา
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดพะเยา แพร่ และสุโขทัย
ทิศใต้ ติดกับ จังหวัดสุโขทัย และตาก
ทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และตาก
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกธรรมรักษา (Heliconia sp.)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: กระเจา (Holoptelea integrifolia)
คำขวัญประจำจังหวัด: ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก
ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกธรรมรักษา (Heliconia sp.)
ต้นไม้ประจำจังหวัด: กระเจา (Holoptelea integrifolia)
คำขวัญประจำจังหวัด: ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 100 ตำบล 855 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองลำปาง
2. อำเภอแม่เมาะ
3. อำเภอเกาะคา
4. อำเภอเสริมงาม
5. อำเภองาว
6. อำเภอแจ้ห่ม
7. อำเภอวังเหนือ
8. อำเภอเถิน
9. อำเภอแม่พริก
10. อำเภอแม่ทะ
11. อำเภอสบปราบ
12. อำเภอห้างฉัตร
13. อำเภอเมืองปาน
การปกครองแบ่งออกเป็น 13 อำเภอ 100 ตำบล 855 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองลำปาง
2. อำเภอแม่เมาะ
3. อำเภอเกาะคา
4. อำเภอเสริมงาม
5. อำเภองาว
6. อำเภอแจ้ห่ม
7. อำเภอวังเหนือ
8. อำเภอเถิน
9. อำเภอแม่พริก
10. อำเภอแม่ทะ
11. อำเภอสบปราบ
12. อำเภอห้างฉัตร
13. อำเภอเมืองปาน
Lampang (Thai ลำปาง) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Chiang Rai, Phayao, Phrae, Sukhothai, Tak, Lamphun and Chiang Mai. The old name of Lampang is Khelang Nakhon.
Geography
Lampang is located in the broad river valley of the Wang River, surrounded by mountain chains. In the Mae Mo district lignite is found and mined in open pits. To the north of the province is the 1697 m high Doi Luang.
Within the province are the national parks Tham Pha Thai, Chae Son, Doi Khun Than, as well as the Huay Tak Teak Biosphere Reserve.
Symbols
The provincial seal show a white rooster inside the entrance to the Pra That Lampang Luang temple. According to the local legend Buddha visited the province in his lifetime. The god Indra worried that the people would not get up by themselves to show respect to Buddha, and thus woke them himself by transforming into a white rooster.
The provincial flower is the Heliconia (Heliconia sp.), and the provincial tree is the Indian Elm (Holoptelea integrifolia). According to the legend during Buddha's visit this tree was planted in the temple.
Lampang is located in the broad river valley of the Wang River, surrounded by mountain chains. In the Mae Mo district lignite is found and mined in open pits. To the north of the province is the 1697 m high Doi Luang.
Within the province are the national parks Tham Pha Thai, Chae Son, Doi Khun Than, as well as the Huay Tak Teak Biosphere Reserve.
Symbols
The provincial seal show a white rooster inside the entrance to the Pra That Lampang Luang temple. According to the local legend Buddha visited the province in his lifetime. The god Indra worried that the people would not get up by themselves to show respect to Buddha, and thus woke them himself by transforming into a white rooster.
The provincial flower is the Heliconia (Heliconia sp.), and the provincial tree is the Indian Elm (Holoptelea integrifolia). According to the legend during Buddha's visit this tree was planted in the temple.
Administrative divisions
The province is subdivided in 13 districts (Amphoe). These are further subdivided into 100 communes (tambon) and 855 villages (muban).
1. Mueang Lampang
2. Mae Mo
3. Ko Kha
4. Soem Ngam
5. Ngao
6. Chae Hom
7. Wang Nuea
8. Thoen
9. Mae Phrik
10. Mae Tha
11. Sop Prap
12. Hang Chat
13. Mueang Pan
The province is subdivided in 13 districts (Amphoe). These are further subdivided into 100 communes (tambon) and 855 villages (muban).
1. Mueang Lampang
2. Mae Mo
3. Ko Kha
4. Soem Ngam
5. Ngao
6. Chae Hom
7. Wang Nuea
8. Thoen
9. Mae Phrik
10. Mae Tha
11. Sop Prap
12. Hang Chat
13. Mueang Pan
จังหวัดแพร่
จังหวัดแพร่ เป็นจังหวัดในภาคเหนือ อดีตเป็นแหล่งไม้สักที่สำคัญของประเทศ มีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่าน ซึ่งก็คือแม่น้ำยม และมีลักษณะภูมิประเทศจะเป็นที่ราบ และมีเทือกเขาล้อมรอบ
ภูมิศาสตร์
แพร่ เป็นสถานที่เป็นหุบเขาอยู่ติดกับแม่น้ำยม
แพร่ เป็นสถานที่เป็นหุบเขาอยู่ติดกับแม่น้ำยม
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 78 ตำบล 645 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองแพร่
2. อำเภอร้องกวาง
3. อำเภอลอง
4. อำเภอสูงเม่น
5. อำเภอเด่นชัย
6. อำเภอสอง
7. อำเภอวังชิ้น
8. อำเภอหนองม่วงไข่
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
· ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกยมหิน (Chukrasia tabularis)
· ต้นไม้ประจำจังหวัด: ยมหิน (Chukrasia tabularis)
· คำขวัญประจำจังหวัด: ม่อฮ่อม ไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม
การปกครองแบ่งออกเป็น 8 อำเภอ 78 ตำบล 645 หมู่บ้าน
1. อำเภอเมืองแพร่
2. อำเภอร้องกวาง
3. อำเภอลอง
4. อำเภอสูงเม่น
5. อำเภอเด่นชัย
6. อำเภอสอง
7. อำเภอวังชิ้น
8. อำเภอหนองม่วงไข่
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
· ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกยมหิน (Chukrasia tabularis)
· ต้นไม้ประจำจังหวัด: ยมหิน (Chukrasia tabularis)
· คำขวัญประจำจังหวัด: ม่อฮ่อม ไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม
Phrae (Thai: แพร่) is one of the northern provinces (changwat) of Thailand. Neighboring provinces are (from north clockwise) Phayao, Nan, Uttaradit, Sukhothai and Lampang.
Geography
Phrae is located in the valley of the river Yom.
Geography
Phrae is located in the valley of the river Yom.
Administrative divisions
The province is subdivided in 8 districts (Amphoe). These are further subdivided into 78 subdistrict (tambon) and 645 villages (muban).
1. Mueang Phrae
2. Rong Kwang
3. Long
4. Sung Men
5. Den Chai
6. Song
7. Wang Chin
8. Nong Muang Khai
The province is subdivided in 8 districts (Amphoe). These are further subdivided into 78 subdistrict (tambon) and 645 villages (muban).
1. Mueang Phrae
2. Rong Kwang
3. Long
4. Sung Men
5. Den Chai
6. Song
7. Wang Chin
8. Nong Muang Khai
Symbols
According to legend the two cities of Phrae and Nan were once ruled by brothers. When they met to divide the land between them the one from Phrae rode on a horse, the one from Nan on a buffalo to the meeting point on top of a mountain. Hence Phrae uses a horse in their seal, while Nan uses a buffalo. When the provincial government proposed the seal in 1940, the Fine Arts Department suggested to add some historic building to the seal additional to the horse, thus it now have the pagoda of Phra Tat Cho Hae on the back of the horse. This temple is located about 9 kilometers south-east of the city Phrae.
Provincial flower and tree is the Burmese Almondwood (Chukrasia tabularis).
According to legend the two cities of Phrae and Nan were once ruled by brothers. When they met to divide the land between them the one from Phrae rode on a horse, the one from Nan on a buffalo to the meeting point on top of a mountain. Hence Phrae uses a horse in their seal, while Nan uses a buffalo. When the provincial government proposed the seal in 1940, the Fine Arts Department suggested to add some historic building to the seal additional to the horse, thus it now have the pagoda of Phra Tat Cho Hae on the back of the horse. This temple is located about 9 kilometers south-east of the city Phrae.
Provincial flower and tree is the Burmese Almondwood (Chukrasia tabularis).
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)